“Jim Thompson International Women’s Day 2023” แบรนด์ไอคอนิกของไทยร่วมโอบกอดความเสมอภาค ส่งต่อพลังบวกสู่สังคมในวันสตรีสากล 8 มีนาคม 2566
Jim Thompson แบรนด์ไอคอนิกไลฟ์สไตล์ระดั บโลกของเมืองไทย ชวนทุกคนร่วมส่งต่อแรงบั นดาลใจเพื่อสนับสนุ นความเสมอภาคและความเท่าเที ยมของผู้คนบนโลก ผ่านแคมเปญ “Jim Thompson International Women’s Day 2023” ต้อนรับวันสตรีสากล ซึ่งตรงกับวันที่ 8 มีนาคมของทุกปี ผ่านแคมเปญธีมปีนี้ของ International women’s day 2023 #EmbraceEquity หรือการโอบกอดความเสมอภาคที่ต้ องอยู่ใน DNA ของทุกสังคม และ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้ าใจความแตกต่างระหว่าง “ความเสมอภาค” และ “ความเท่าเทียม” รวมถึงกระตุ้นให้ผู้ คนบนโลกตระหนักว่าเหตุใดทำไมเรื่ องความเท่าเทียมกัน จึงยังไม่เพียงพอ!
จิม ทอมป์สัน ดึง 3 คนดังตัวแทนคนยุคใหม่ ในหลายบทบาททั้ง อแมนด้า ชาลิสา ออบดัม, “บุ๋ม” บุณย์ญานุช บุญบํารุงทรัพย์ และ “หมอเจี๊ยบ” ลลนา ก้องธรนินทร์ มาร่วมแบ่งปันมุมมองเรื่ องเสมอภาคที่เป็นความสำคั ญในโลกยุคปัจจุบัน ทำให้บทบาทของผู้หญิงเป็นส่ วนหนึ่งที่จะทำให้โลกใบนี้เดิ นหน้าไปสู่เป้าหมายที่ทุกคนตั้ งไว้ พร้อมเชิญชวนทุกคนแชร์เรื่ องราวและประสบการณ์ผ่านสื่อสั งคมโซเชียล เพื่อส่งต่อแนวคิดดี ๆ สู่สังคมในวงกว้างและร่วมกั นสรรค์สร้างโลกที่มี ความเสมอภาคอย่างแท้จริง
มุมมองของอแมนด้า: เราต้องช่วยกันสร้ างความเสมอภาคทางการศึกษาของเด็กไทย
แนวคิดหลักของวันสตรีสากลในปีนี้
คือ “Embrace Equity” หรื
อการโอบกอดความเสมอภาพของคนทุ
กเพศทุกวัย แต่หลายคนอาจเกิดความสับสนระหว่
างคำว่า Equity (ความเสมอภาค) และ Equality (ความเท่าเทียม) ซึ่ง
อแมนด้า ชาลิสา ออบดัม สาวเก่งลูกครึ่งไทย-แคนาดา ผู้คว้าตำแหน่งมิสยูนิเวิร์
สไทยแลนด์ 2563 เธอได้อธิบายไว้อย่างน่าสนใจว่า “สำหรับด้า ความเท่าเทียมก็คือทุกคนได้รั
บโอกาสเหมือนกันหมด แต่ความเสมอภาคหมายถึงทุกคนได้
รับโอกาสที่ยุติธรรมสำหรับแต่
ละคน ขอยกคำกล่าวที่ด้าเคยอ่
านมานะคะว่า Equality is when you give everyone a shoe, but equity is when you give everyone a shoe that fits them เนื่องจากทุกคนมีต้นทุนไม่เท่
ากันและมาจากจุดที่แตกต่างกัน บางคนอาจจะต้องการโอกาสที่
มากกว่าหรือแตกต่างจากคนอื่น ดังนั้น Embrace Equity จึงเป็นการให้ความสำคัญกั
บความเสมอภาคในความแตกต่างระหว่
างบุคคล เพื่อสร้างความเท่าเทียมซึ่งเป็
นเป้าหมายสูงสุดค่ะ”
อแมนด้ามองว่าความเสมอภาคที่เมื องไทยยังขาดอยู่มากก็คือการศึ กษา ตัวอย่างที่ชัดเจนก็คือในช่ วงโควิดซึ่งนักเรียนทุกคนจะต้ องเรียนออนไลน์และจำเป็นต้องใช้ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือมือถือในการเรียน แต่ไม่ใช่ว่าทุกคนจะมีสิ่งเหล่ านั้นเพราะบางครอบครัวยากจนมาก เพราะฉะนั้น ถึงแม้ว่าเราทุกคนจะได้รั บโอกาสที่เท่าเทียมในการเรี ยนคลาสออนไลน์ แต่ความเสมอภาคจริง ๆ ยังไม่มี โดยอแมนด้าคิดว่าการศึกษาเป็ นเรื่องที่สำคัญมาก เพราะเป็นสิ่งที่จะปลูกฝังให้ เด็ก ๆ สามารถมีอาชีพที่ดี ในอนาคตและหลุดพ้นจากปั ญหาความยากจนได้จริง ๆ และถึงแม้ยังเป็นเรื่องยากที่ จะทำให้เกิดความเสมอภาคได้จริ งในสังคม แต่สิ่งที่เธอกล่าวว่าสิ่งที่ เราแต่ละคนทำได้ก็คือการสร้ างความเชื่อมั่นและให้กำลังใจตั วเองเพื่อช่วยกันสร้างความเปลี่ ยนแปลงให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรู ปธรรม
“สิ่งหนึ่งที่ด้าเชื่อก็คือ We can’t succeed if some of us are still held back. คือเราจะไม่ สามารถประสบความสำเร็จได้เลย ถ้ามีคนในสังคมที่ยังไร้ โอกาสและถูกทิ้งไว้ข้างหลัง เพราะสังคมจะสามารถขับเคลื่ อนได้ก็ต่อเมื่อเราทั้งหมดในสั งคมเดินหน้าไปด้วยกันค่ะ” อแมนด้า กล่าวทิ้งท้าย
แชร์แนวคิด บุ๋ม บุณย์ญานุช บุญบํารุงทรัพย์: การสร้างความเสมอภาคเริ่มต้นที่ กำลังใจของตัวเอง
ผู้บริหารสาวสุดแกร่งที่ทุกคนรู้ จักกันดีอย่าง “บุ๋ม” บุณย์ญานุช บุญบํารุงทรัพย์” ได้มาร่วมสะท้อนถึงปัญหาเกี่ ยวกับความเท่าเทียมกันในเมื องไทยว่า “สิ่งที่บุ๋มรู้สึกว่ าคนไทยควรจะได้รั บความเสมอภาคหลัก ๆ มีอยู่ 2 เรื่องคือการรั กษาพยาบาลและการศึกษา บุ๋มขอพูดถึงการเข้าถึงการรั กษาในโรงพยาบาลก่อน คือบ้านบุ๋มอยู่แถวศิริราช ตั้งแต่เด็กเราจึงได้เห็ นคนมารอรับการรักษาพยาบาลอยู่ ตลอดเวลา ทั้งนั่งและนอนที่พื้น ดังนั้นบุ๋มอยากให้ทุกคนเข้าถึ งการดูแลรักษาความเจ็บป่ วยในโรงพยาบาลอย่างเสมอภาคเป็ นเรื่องแรก แต่ก็ต้องยอมรับว่าตัวเราอยู่ นอกสายงานนั้นและยังให้ ทางออกอะไรไม่ได้ แต่บุ๋มคิดว่าสิ่งที่เราช่ วยเหลือตัวเองได้ในวันนี้เลยก็ คือการดูแลสุขภาพให้มากขึ้น เพราะมันเป็นจุดตั้งต้นที่ จะทำให้เราไม่เจ็บป่วย คือถ้าเราดูแลร่างกายของตั วเองให้ดีพอ มันก็ช่วยป้องกันการเจ็บป่วยได้ ดีกว่าการไปแก้ไขปัญหาเรื่ องการดูแลรักษาที่ไม่ เสมอภาคในภายหลัง”
“อีกปัญหาความเสมอภาคที่ อยากกระตุ้นก็คือการศึกษา จริงๆ แล้วทุกวันนี้งานที่ตัวเองทำอยู่ ก็คือการธุรกิจการพัฒนาคนในเรื่ องการศึกษา อันนี้น่าจะเป็นสิ่งที่บุ๋มช่ วยได้บ้าง ผ่านการให้ความรู้ คนทำงานเฉพาะกลุ่ม เพราะการที่คนจะเจริญเติบโตได้ ไม่ใช่มีแต่ Hard skill เท่านั้นแต่ต้องมี Soft skill หรือทักษะชีวิตด้วย ปัจจุบันบุ๋มจึงพยายามใช้โซเชี ยลมีเดียให้ความรู้กับผู้คน รวมถึงการแชร์คอนเทนต์หรื อทำคอนเทนต์ที่ทำให้คนเห็นมุ มมองการดูแลตัวเองทั้งในเรื่ องของร่างกาย ความรู้ และจิตใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราสามารถแบ่งปั นได้และทุกคนสามารถนำไปปฏิบัติ ได้ทันที โดยที่ไม่ต้องไปเรียกร้องหรื อรอให้ใครมาช่วยเหลือ”
“สิ่งที่บุ๋มอยากจะฝากกับทุ กคนในวันสตรีสากลนี้ก็คือคติ พจน์ประจำใจบุ๋มค่ะ ซึ่งบุ๋มเชื่ออยู่สองเรื่องนะคะ เรื่องแรกก็คือ Everything is Possible ถ้าแปลง่าย ๆ คือมันต้องได้สิวะ หมายถึงว่าถ้าเรามีความเชื่อว่ าทำได้ คุณจะทำมันได้ แต่ถ้าคุณคิดว่าคุณทำไม่ได้ คุณก็แพ้ตั้งแต่นอนอยู่บนเตี ยงแล้ว อีกเรื่องหนึ่งเป็นสิ่งที่บุ๋ มเชื่อมากก็คือคำว่ารักชนะทุ กอย่าง บุ๋มคิดว่าถ้าคุณมีความรักกับสิ่ งใดมากพอ คุณจะเอาชนะทุกอย่างได้เพื่อสิ่ งนั้น ถ้าคุณรักตัวเอง คุณจะพาตัวเองไปอยู่ที่ดี ๆ ถ้าคุณรักงาน คุณจะทำงานนั้น ๆ อย่างเต็มที่ ถ้าคุณรักสิ่งใดมากพอ ถึงแม้คนรอบข้างจะบอกว่าคุ ณทำไม่ได้ คุณก็จะทำได้ ดังนั้นขอฝากไว้กับทุกคนนะคะว่ ามันต้องได้สิวะเพราะความรั กชนะทุกอย่างค่ะ” บุ๋ม-บุณย์ญานุช กล่าว
เปิดใจหมอเจี๊ยบ: ความเสมอภาคคือทุกเพศต้องมีสิ ทธิพื้นฐานในฐานะประชาชน
“หมอเจี๊ยบ” ลลนา ก้องธรนินทร์ คุณหมอสาวคนเก่งที่เป็นนักเคลื่ อนไหวคนสำคัญด้านความเท่าเที ยมทางเพศของเมืองไทย กล่าวถึงความเสมอภาคได้อย่ างตรงจุดว่า “แม้ว่าสังคมไทยเราพัฒนาขึ้ นเยอะมาก แต่ในความเป็นจริงแล้วยั งขาดความไม่ความเสมอภาคในเกื อบจะทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการศึกษา การรักษาพยาบาล หรือว่าเรื่องที่ใกลัตัวเจี๊ ยบที่สุดในทุกวันนี้ นั่นก็คือความเสมอภาคในการได้รั บสิทธิพื้นฐานในการเป็ นประชาชนคนไทย โดยเฉพาะคนในกลุ่ม LGBTQ+”
เราทราบกันดีว่า ทุกวันนี้สังคมไทยไม่ได้มีแค่ เพศหญิงเพศชาย แต่เรายังมีกลุ่ม LGBTQ+ ที่ต้องการสิทธิขั้นพื้นฐานเที ยบเท่าชายหญิงทั่วไป แต่ก็ยังไม่ได้รับสิทธินั้ นตามกฎหมายอย่างถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสิทธิ การสมรสเท่าเทียมซึ่งจะครอบคลุ มถึงการตัดสินใจในการรั กษาพยาบาลคู่ชีวิต หรือเรื่องกฎหมายต่าง ๆ อย่างการกู้เงินเพื่อการทำธุรกิ จหรือสร้างครอบครัวร่วมกัน “สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องที่เจี๊ ยบอยากให้เกิดขึ้น ซึ่งเจี๊ยบคิดว่าเราสามารถเป็ นกระบอกเสียงหรือยืนหยัดเพื่อสิ่ งนี้อย่างที่สุด โดยที่ไม่ได้ทำความเดือดร้อนให้ ใคร หรือเรายังสามารถสร้างประโยชน์ ให้กับสังคมได้ด้วยซ้ำ ซึ่งหากเราได้รั บความเสมอภาคในจุด ๆ นี้ได้ ก็จะนำไปสู่การปรับปรุงในเรื่ องอื่น ๆ เพื่อสร้างความเท่าเทียมให้ มากขึ้นต่อไป”
หมอเจี๊ยบยังฝากถึงทุกคน ไม่ว่าจะเป็นใคร ผู้ชาย ผู้หญิง หรือ LGBTQ+ ว่าขอให้มีเชื่อมั่นในตั วเองโดยที่ไม่ต้องไปพิสูจน์ให้ ใครรู้ว่าตัวเราเป็นอย่างไร แต่เราต้องรู้ว่าสิ่งใดคือเป้ าหมายที่จะทำให้ชีวิตเราดีและมี ความสุข และสิ่งที่คุณทำนั้นไม่ได้เดื อดร้อนใคร เท่านี้ก็เพียงพอแล้ว
“เจี๊ยบขอให้ทุกคนรักและเชื่อมั นในตัวเอง และอย่าท้อถอยในสิ่งที่คุณตั้ งใจ เรื่องนี้เป็นสิ่งที่เจี๊ยบคิ ดได้ตั้งแต่เริ่มเข้าใจตั วเองและอยู่ในจุดที่ตัวเองมี ความสุข เจี๊ยบเชื่อว่าการที่เราได้รั กตัวเองและมีเป้าหมายที่ มาจากใจของเรา ไม่ว่าคุณจะเจออุปสรรคอะไรระหว่ างทางก็ตาม มันจะทำให้คุณแข็งแกร่งขึ้น ขอให้คุณสู้ไม่ถอย ถึงแม้ว่ามันยังไม่สำเร็จ แต่ระหว่างทางนั้นคุณจะได้พบกั บประสบการณ์และสิ่งดี ๆ มากมาย และในวันที่คุณไปถึงเป้าหมาย คุณจะรู้สึกเติมเต็มและรู้ว่ าการที่ได้เป็นตัวเองนั้นมันมี ความสุขขนาดไหน” หมอเจี๊ยบ ปิดท้าย
แบรนด์ไอคอนิกของไทยร่วมส่งต่ อแรงบันดาลใจสู่ผู้คนทั่วโลก
จิม ทอมป์สัน คือแบรนด์ผู้ผลิตสิ่งทอที่ยึดมั่ นในกรรมวิธีการผลิตแบบดั้งเดิ มมาอย่างยาวนาน กระนั้น บริษัทก็มีการปรับตัวและพั ฒนาผลิตภัณฑ์ที่ให้มีรูปแบบที่ หลากหลาย เพื่อให้ตอบโจทย์การใช้งานในชี วิตประจำวันของคนยุคใหม่ได้อย่ างครอบคลุม จนกลายเป็นแบรนด์ไลฟ์สไตล์ระดั บไอคอนิกของโลกในปัจจุบัน เฉกเช่นที่เราเชื่อมั่นว่าพื้ นฐานสำคัญของสังคมคื อความเสมอภาคของผู้คน ไม่ว่าจะอยู่ในเพศหรือสถานะใดก็ ตาม สิ่งนี้ถือเป็นเสาหลักสำคั ญของการพัฒนาโลกที่เท่าเทียม หากเราช่วยกันส่งเสริมให้เกิ ดความเสมอภาคขึ้นได้ ก็จะช่วยให้ผู้คนสามารถเติ บโตได้อย่างเต็มศั กยภาพบนแนวทางที่แตกต่างของแต่ ละคน ซึ่งนั่นจะนำไปสู่ความเท่าเที ยมของผู้คนบนโลกอย่างแท้จริง
ท่านสามารถร่วมสนับสนุนแนวคิ ดความเสมอภาคกับแคมเปญ “Jim Thompson International Women’s Day 2023” โดยโพสต์เรื่องราวหรือภาพถ่ ายประทับใจผ่านสื่อสังคมออนไลน์ พร้อมใส่แฮชแท็ก #IWD2023 #EmbraceEquity #Internationalwomensday #Internationalwomensday2023 #Jimthompson #JTandMe